18 ตุลาคม 2555

การตอบสนองและการเคลื่อนไหวของพืช


การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต (growth movement)
                > เกิดค่อนข้างช้าต่อเนื่องใช้เวลานาน
                > เป็นผลมาจากฮอร์โมนพืชเป็นส่วนใหญ่
      > เป็นผลมาจากสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนน้อย
       การเคลื่อนไหวเนื่องจากสิ่งเร้าภายในของพืชเอง (autonomic movement)
> nutation movement         ปลายยอดเอนหรือแกว่งไปมา
> spiral movement               ปลายยอดบิดเป็นเกลียว 
การเคลื่อนไหวเนื่องจากสิ่งเร้าภายนอก (stimulus movement)

Tropism; การเคลื่อนไหวที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
Nasty;      การเคลื่อนไหวของพืชโดยมีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
สิ่งเร้า (Stimulus)
Tropism
Nastic movement
แรงโน้มถ่วง
แสง
สารเคมี
การสัมผัส
น้ำ
อุณหภูมิ
Gravitropism
Phototropism
Chemotropism
Thigmotropism
Hydrotropism
Thermotropism

None
Photonasty
Chemonasty
Thigmonasty
Hydronasty
Thermonasty













การเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่ง (turgor movement)
     > เกิดค่อนข้างเร็วใช้เวลาน้อย ผันกลับไปกลับมาได้
               > เป็นผลมาจากฮอร์โมนพืชเป็นส่วนใหญ่
o   Contact movement
> ตอบสนองเนื่องจากการสัมผัสได้รวดเร็วไม่ถาวร
> พืชทั่วไป เช่น การหุบและกางของใบไมยราบ
> พืชกินแมลง ได้แก่ ต้นกาบหอยแครงต้นหยาดน้ำค้าง ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
o   Sleep movement
> ใบจะหุบในตอนเย็นหรือพลบค่ำ และจะกางใบออกตอนรุ่งเช้าเมื่อมีแสงสว่าง
> เช่น ก้ามปู กระถิน มะขาม จามจุรี ไมยราบ ผักกระเฉด แค
o   Guard cell movement
> เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำภายในเซลล์
> เช่นการเปิด-ปิดของปากใบ เนื่องจากน้ำแพร่เข้าไปในเซลล์คุม (guard cell)





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น