30 ธันวาคม 2556

ฤดูที่แตกต่างกับการหลั่งฮอร์โมนในร่างกาย

         เป็นที่ทราบกันดีกว่าในช่วงอากาศหนาวมาเยือนในเดือนสุดท้ายของปีนั้น หลายคนมักจะรู้สึกอ่อนเพลียงง่วงนอนบ้างในเวลากลางวัน และจะไม่มีสมาธิในการเรียนหรือการทำงานในช่วงบ่าย อาการเช่นนี้เองที่เรียกกันว่า ความอ่อนล้าแห่งฤดูใบไม้ร่วง(ฤดูหนาวสำหรับประเทศไทย)
         
ที่มาของภาพ https://www.sciencephoto.com/image/316403/350wm/P7500060-Artwork_of_melatonin_secretion_by_pineal_gland-SPL.jpg

         สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ถือว่าเป็นเพียงปฏิกิริยาตามธรรมชาติของร่างกายในฤดูที่แตกต่างกันไปนั้นเอง ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่า เมื่อฤดูร้อนผ่านไป ฤดูหนาวก้าวเข้ามา อากาศเปลี่ยนจากเดิมที่ร้อนระอุเป็นอากาศที่เย็นสบาย ร่างกายจะมีเหงื่อออกน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งร่างกายของคนเราจะเข้าสู่การปรับตัวไปตามวัฏจักร ทำให้ช่วงเวลานี้จะมีความรู้สึกว่าร่างกายเมื่อยล้าและอ่อนเพลียอย่างบอกไม่ถูก โดยในฤดูร้อนอากาศอบอ้าวเนื่องจากมีช่วงเวลาของกลางวันยาวนานกว่าเวลากลางคืน ซึ่งแสงอาทิตย์ที่เพียงพอจะสามารถช่วยยับยั้งการขับสารเคมีจากต่อมเล็กที่อยู่เหนือสมองส่วนหน้าไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) สารเคมีนั้นก็คือ เมลาโทนิน (Melatonin) จากต่อมไร้ท่อที่มีชื่อว่า ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
         แต่หลังจากเข้าสู่ฤดูหนาว ระยะเวลาที่มีแสงอาทิตย์จะลดน้อยลง โดยเฉพาะในยามที่ฟ้ามืดหรือมีฝนตกต่อเนื่อง ต่อมไพเนียลนี้จะสามารถหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินออกมาได้มากกว่าปกติ และไปยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนไทรอกซิน (Thyroxine) และสารอะดรีนาลิน (Adrenaline) ทำให้ร่างกายไม่สดชื่น มีอารมณ์หม่นหมอง รู้สึกง่วงนอน ดังนั้นเมื่ออากาศในฤดูหนาวเย็นชื่น ก็ควรเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินที่นอนดึกในช่วงฤดูร้อน โดยพยายามเข้านอนให้เร็วขึ้นกว่าปกติก็จะเป็นประโยชน์ต่อการผ่านคลายอาการง่วงนอน และจะทำให้ในเวลากลางวันนั้นสามารถทำงานหรือนั่งเรียนหนังสือได้นั้นเอง













26 ธันวาคม 2556

MUSC Sport Day & New Year Party 2014

25th December afternoon off for sport day and I joined with Department of Biology in the name is Bio Army Team. The activities are multi-skill based so there is a huge range but the most important thing is the focus on fun.

There were the teachers, graduate students and staffs from all departments to joined at chemistry park in Faculty of Science.

Here, the photo shows members of the department enjoying the activities, including my PhD thesis supervisor.

21 กันยายน 2556

My PhD research

  

     I received my Bachelor's degree in Biology from Srinakharinwirot University, Thailand. Then, I joined the laboratory of Assist Prof. Acharaporn Kumsopha at Mahidol University, for my Master' degree studies in the field of Environmental Technology and Management, where I spent most of my time to studying on Bioremediation and Phytoremediation until I joined the Department of Biology and started my Doctoral' degree in the field of Biology.  


I am currently interested in the remediation of contaminated soil by studying on Bioremediaiton process between Plant and Microbial metabolism of Petroleum Hydrocarbon and Lead.
     During my PhD studies in the lab of Assoc. Prof. Prayad Pokethitiyook at Mahidol University, I have really enjoyed the time I've spent working on my PhD research, and feel lucky to have had the opportunity to join the lab at the Department of Biology.

25 สิงหาคม 2556

“Trends in Bioanalytical Imaging”


a DECHEMA event, was organized by leaders in bioanalytical imaging in Germany and took place in Frankfurt am Main on May 27–28, 2013. 


DECHEMA has always provided the scientific community with conferences that are tailored to the needs of the community – with advances in imaging techniques as an enabling technology, the latest DECHEMA conference on “Trends in Bioanalytical Imaging – Analytics and Applications” is yet another example of such.


This conference was organized by: Dr. Mark Brönstrup (Sanofi Aventis Deutschland GmbH), Prof. Tim Nattkemper (University of Bielefeld), Prof. Karsten Niehaus (University of Bielefeld), Prof. Jürgen Popp (University of Jena), Dr. Andreas Römpp (University of Giessen) and Prof. Bernhard Spengler (University of Giessen) and held between May 27–28, 2013 in Frankfurt am Main, Germany. The conference is broadly divided into two sections: mass spectrometry imaging and Raman spectroscopy-based imaging.



You can read the more detail here and copy the report also. This report focuses on the Raman spectroscopy part of the conference.
Judy Peng PhD.
Article first published online: 11 JUL 2013
DOI: 10.1002/biot.201300254

Copyright © 2013 WILEY-VCH Verlag GmbH & Co. KGaA, Weinheim





24 สิงหาคม 2556

การประชุมสัมมนาวิชาการประจำปี 2556 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา--Conference on Environmental Health and Toxicology 2013

นวัตกรรมเพ่ื่อความปลอดภัยและสุขภาวะ - Innovation for Safety and Wellness
24-25 สิงหาคม 2556
ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ 

การบรรยายพิเศษเรื่อง การขับเคลื่อนประเทศไทยในกลุ่มอาเซียนสู่ระดับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา
การอภิปรายเรื่อง อาหารปลอดภัยและนวัตกรรมเพื่ออาหารปลอดภัย




การประชุมโต๊ะกลมและกิจกรรมกลุ่มย่อยนักศึกษาเรื่อง อาหารปลอดภัย ความปลอดภัยของวัตถุดิบที่นำมาใช้ประกอบอาหาร ความปลอดภัยระหว่างกระบวนการผลิต การบรรจุภัณฑ์ และการเก็บรักษา นวัตกรรมด้านความปลอดภัยของอาหาร